โครงการ การสร้างคุณค่าและเพิ่มรายได้ผลิตภัณฑ์อะโวคาโด ศูนย์เรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลหนองแม่นา อำเภอเข้าค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์

แหล่งงบประมาณ งบประมาณแผ่นดิน

1. โครงการ การสร้างคุณค่าและเพิ่มรายได้ผลิตภัณฑ์อะโวคาโด ศูนย์เรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลหนองแม่นา อำเภอเข้าค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์

    รหัสกิจกรรม ๖๕-๑๐๕-๔๑๑-๐๑-๐๑
    ผู้รับผิดชอบโครงการ ดร.ปาณิสรา คงปัญญา
    หน่วยงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

          ประเภทโครงการ

  • โครงการพัฒนา
  • โครงการวิจัย
  • โครงการอบรม/บริการวิชาการ
  • กิจกรรมสัมพันธ์

เป้าหมายการพัฒนา

  • โครงการพัฒนาท้องถิ่นด้านเศรษฐกิจ
  • โครงการพัฒนาท้องถิ่นด้านสังคม
  • โครงการพัฒนาท้องถิ่นด้านสิ่งแวดล้อม
  • โครงการพัฒนาท้องถิ่นด้านการศึกษา
  • โครงการผลิตและพัฒนาครู
  • โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา

2. พื้นที่ดำเนินโครงการ
    2.1 ศูนย์เรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ไร่ทิพย์เสาวรส ตำบลหนองแม่นา อำเภอเข้าค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์

3. ปัญหาของพื้นที่
    ปัจจุบันอะโวคาโดถือเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่ ตลาด ต้องการสูง มีราคาแพง 50-60 บาท/กิโลกรัม อะโวคาโดเป็นพืชเพื่อสุขภาพที่ เปี่ยมไปด้วยประโยชน์ต่อร่างกาย อย่างมาก แรกเริ่มสำหรับตลาดในประเทศไทย พบว่า ผลอะโวคาโด เพิ่งจะได้รับความสนใจในการบริโภค โดยกลุ่มผู้รักสุขภาพทังหลาย ปัจจุบัน พบว่า ตลาดให้ความสนใจมากขึ้นตามลำดับ ทำให้อะโวคาโด กลายเป้นผลไม้ที่ มีความต้องการของตลาดสูงของตลาดในปัจจุบัน               การแปรรูปอะโวคาโดในปัจจุบันเริ่มจากการสกัดน้ำมัน และการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ อีกทั้ง ยังเป็นพืชที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและรายได้ที่ดีให้เกษตรกรใน อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ ซึ่งปัจจุบันมีเกษตรกรผู้ปลูกอะโวคาโดมีจำนวนมาก มีพื้นที่ปลูกแบบแปลงเดี่ยวและแปลงผสมผสานกับไม้ผลชนิดอื่น และมีแนวโน้มขยายพื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้น เนื่องจากผลผลิตเป็นที่ต้องการของตลาด แต่ปริมาณผลผลิตอะโวคาโดยังมีไม่พอต่อความต้องการของตลาด ซึ่งการปลูกอะโวคาโดจากเมล็ดตามวิธีดั้งเดิมของเกษตรกร ส่งผลให้ผลผลิตอะโวคาโดไม่ตรงตามพันธุ์ มีความหลากหลายทางพันธุกรรมสูง ผลผลิตด้อยคุณภาพ ยากต่อการจัดการผลผลิตให้ได้คุณภาพมาตรฐาน ทั้งนี้  ยังเป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่มด้านหนึ่งด้วย

ศูนย์เรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ไร่ทิพย์เสาวรส ตำบลหนองแม่นา อำเภอเข้าค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร และสร้างมูลค่าเพิ่มภายใต้แนวคิดเกษตร ปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ ควบคู่กับการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปให้มีความหลากหลายสอดคล้อง กับความต้องการของตลาด อาทิพัฒนาภาคเหนือตอนบนเป็นฐานการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ และตอนล่าง เป็นฐานผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยในรูปแบบฟาร์มเกษตรอัจฉริยะ

4. จำนวนกลุ่มเป้าหมาย
   กลุ่มเป้าหมาย สมาชิกกลุ่มศูนย์เรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ไร่ทิพย์เสาวรส ตำบลหนองแม่นา   อำเภอเข้าค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์

5. นักศึกษามีส่วนร่วมในการดำเนินงานในโครงการ   
    นักศึกษา รหัสวิชา MSMB523 วิชา การจัดการการผลิติและการปฏิบัติการสมัยใหม่ จำนวน นศ ๖ คน 
    นักศึกษา รหัสวิชา MSMB512 วิชา การจัดการการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมองค์กร จำนวน นศ ๖ คน

 6. วิธีการดำเนินงาน
     6.1 กิจกรรมสำรวจความต้องการชุมชน
           1. ศึกษาข้อมูลบริบทเบื้องต้นของชุมชนเป้าหมายในพื้นที่ดำเนินการจากสารสนเทศต่าง ๆ และสำนักงานพัฒนาชุมชน   
           2. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อจัดลำดับ วิเคราะห์บริบท 

     6.2 กิจกรรมทำบัญชีครัวเรือ
          อบรมให้ความรู้วิธีการทำบัญชีครัวเรือนให้กับผู้เข้าร่วมโครงการ  

         6.3 กระบวนการการผลิตยกระดับรายได้ให้กับชุมชนฐานราก ศูนย์เรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลหนองแม่นา อำเภอเข้าค้อ
               กระบวนการสร้างผลิตภัณฑ์จากอะโวคาโดผลิตภัณฑ์จากอะโวคาโดให้กับศูนย์เรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ไร่ทิพย์เสาวรส ตำบลหนองแม่นา อำเภอเข้าค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์

7. ผลการดำเนินงาน
   7.1 ตัวชี้วัดความสำเร็จของกิจกรรม

ตัวชี้วัดหน่วยนับปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
  ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค.64)ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค.65)ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 65)ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 65)
แผนผลแผนผลแผนผลแผนผล
เชิงปริมาณ 1) ผู้เข้าร่วมอบรมการทำบัญชีครัวเรือน     2) ผู้เข้าร่วมอบรมการสร้างผลิตภัณฑ์จากอะโวคาโด    คน         ผลิต ภัณฑ์    1) ฝึกอบรมการทำบัญชีครัวเรือน    1) ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถจัดทำบัญชีครัวเรือนได้            1) ฝึกอบรมการสร้างผลิตภัณฑ์จากอะโวคาโด              2) ได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจาก           อะโวคาโด จำนวน 3 ชนิด  
เชิงคุณภาพ 1. รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10         2) ดัชนีชี้วัดความสุขมวลรวมชุมชน (GVH) จากครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ    รายได้               ระดับ        1) รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10    1) รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 (เทียบกับก่อนดำเนินโครงการ                        2) ดัชนีชี้วัดความสุขมวลรวมชุมชน (GVH) จากครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ                    2) ความสุขมวลรวมชุมชน (GVH) อยู่ในระดับ “อยู่เย็นเป็นสุข”

8. ผลการดำเนินงานของโครงการ
    8.1 ผลผลิต (output)
          1. ชุมชนได้ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากอะโวคาโด จำนวน 3 ชนิด
          2. ชุมชนสามารถจัดทำบัญชีครัวเรือนได้

    8.2 ผลลัพธ์ (Output)
          1. รายได้ของครัวเรือนในชุมชนเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
          2.  ความสุขมวลรวมชุมชน (GVH) ในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการอยู่ในระดับ “อยู่เย็นเป็นสุข”
          3. ชุมชนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปสร้างอาชีพและสร้างรายได้ให้กับครอบครัว
          4. ชุมชนสามารถรวมกลุ่ม เพื่อจัดตั้งกลุ่มอาชีพ และพัฒนาผลิตภัณฑ์จนเป็นที่รู้จักในวงกว้าง

    8.3 ผลกระทบ (Impact)
          ชุมชนกลุ่มเป้าหมาย ตำบลหนองแม่นา อำเภอเข้าค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ สมารถนำความรู้ที่ได้ ไปสร้างอาชีพเพื่อความยั่งยืน และสร้างรายได้ให้กับครอบครัว

    8.4 การประเมินผล

  • บรรลุ ร้อยละ 100
  • ไม่บรรลุ
  • ไม่สามารถประเมินผลได้

9. วิธีที่ใช้ในการประเมิน
    1. แบบประเมินความสุขมวลรวมชุมชน (GVH)ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
    2. แบบสำรวจรายได้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ

10. ปัญหาและอุปสรรค
      –

11. ข้อเสนอแนะ
      –

Leave a Comment

Your email address will not be published. Required fields are marked *