โครงการส่งเสริมความรัก ความสามัคคีของคนในชาติ ตำบลบางมูลนาก อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร

แหล่งงบประมาณ งบประมาณแผ่นดิน

1. โครงการ ส่งเสริมความรัก ความสามัคคีของคนในชาติ ตำบลบางมูลนาก อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร

    รหัสกิจกรรม ๖๕-๑๐๔-๔๑๑-๐๑-๐๒
    ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรุณ สนใจ
    หน่วยงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

          ประเภทโครงการ

  • โครงการพัฒนา
  • โครงการวิจัย
  • โครงการอบรม/บริการวิชาการ
  • กิจกรรมสัมพันธ์

เป้าหมายการพัฒนา

  • โครงการพัฒนาท้องถิ่นด้านเศรษฐกิจ
  • โครงการพัฒนาท้องถิ่นด้านสังคม
  • โครงการพัฒนาท้องถิ่นด้านสิ่งแวดล้อม
  • โครงการพัฒนาท้องถิ่นด้านการศึกษา
  • โครงการผลิตและพัฒนาครู
  • โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา

2. พื้นที่ดำเนินโครงการ
    หมู่ที่ 3 ตำบลบางมูลนาก อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร

3. ปัญหาของพื้นที่
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์น้อมนำพระราชปณิธานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมีพระราชปณิธาน สืบสาน รักษา ต่อยอด โดยการดำเนินโครงการส่งเสริมความรัก สามัคคีของคนในชาติ ประจำปี 2565 และเนื่องด้วยจากรายงานสำรวจความต้องการในการับบริการวิชาการประจำปีการศึกษา 2564 โดยคณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์ ระบุว่า จังหวัดเพชรบูรณ์ มีความต้องการกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความรัก สามัคคี และสร้างรายได้แก่ประชาชนในชุมชน อันเนื่องมาจากความรู้สึกไม่มั่นคงทางสังคม และการลดลงของรายได้ในสถานการณ์โควิด-19 ซึ่งมีความสอดคล้องกับเป้าหมายของโครงการเป็นอย่างดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จึงได้เลือกเป็นพื้นที่เป้าหมาย คือ หมู่ที่ 3 ตำบล บางมูลนาก อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร

          ความต้องการของชุมชนของพื้นที่เป้าหมาย

1. ต้องการกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความรัก สามัคคี
2. ต้องการสร้างกระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้การทำตะกร้าสาน
3. ต้องการสร้างหลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์การทำตะกร้าสาน

4. จำนวนกลุ่มเป้าหมาย
    กลุ่มแม่บ้าน และเครือข่ายเยาวชน ตำบลบางมูลนาก จำนวน ๓00 คน

5. นักศึกษามีส่วนร่วมในการดำเนินงานในโครงการ
    –

 6. วิธีการดำเนินงาน
     6.1 กระบวนการเสริมสร้างความรัก สามัคคี
           กิจกรรมการพัฒนาวิทยากรกระบวนการเสริมสร้างความรัก สามัคคี

 6.2 การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าปักและการส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์กระเป๋าสาน

       กิจกรรมที่ 1 การจัดการความรู้เรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าปัก

     กิจกรรมที่ 2 การร่วมพัฒนาหลักสูตรพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าปัก

7. ผลการดำเนินงาน

   7.1 ตัวชี้วัดความสำเร็จของกิจกรรม

ตัวชี้วัดหน่วยนับปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
  ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค.64)ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค.65)ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 65)ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 65)
แผนผลแผนผลแผนผลแผนผล
เชิงปริมาณ
1) ผู้เข้าร่วมพัฒนาวิทยากรกระบวนการเสริมสร้างความรัก สามัคคี
      2) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าปักและการส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์กระเป๋าสาน      
เชิงคุณภาพ
1. รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
    2) ดัชนีชี้วัดความสุขมวลรวมชุมชน (GVH) จากครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ  
  คน               คน                       รายได้             ระดับ    อบรม เชิงปฏิบัติการ  ได้วิทยากรกระบวนการเสริมสร้างความรัก สามัคคี และสร้างรายได้แก่ประชาชนในชุมชน จำนวนอย่างน้อย 20 คน                  1) การให้ความรู้การสานกระเป๋าและตะกร้าจากเส้นพลาสติก 2) การส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์ กระเป๋าและตะกร้าสานจากเส้นพลาสติก                          1) เยาวชนและประชาชนตำบลห้วยเขน จำนวน 60 คน 2) เยาวชนและประชาชนตำบลภูมิ จำนวน 60 คน                                        1)รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 (เทียบกับก่อนดำเนินโครงการ       2)ประเมินความสุขมวลรวมชุมชน (GVH) ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ                                          1)รายได้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า           ร้อยละ 10             2)ความสุขมวลรวมชุมชน (GVH) อยู่ในระดับ “อยู่เย็นเป็นสุข”


8. ผลการดำเนินงานของโครงการ
    8.1 ผลผลิต (output)
         1. ผลิตภัณฑ์จากกระเป๋าสานจากเส้นพลาสติก

    8.2 ผลลัพธ์ (Output)
          1. รายได้ของครัวเรือนในชุมชนเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
          2. ความสุขมวลรวมชุมชน (GVH) ในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการอยู่ในระดับ “อยู่เย็นเป็นสุข”

    8.3 ผลกระทบ (Impact)
          1. องค์การบริหารส่วนตำบลภูมิ พัฒนาเยาวชนเป็นวิทยากรกระบวนการจิตอาสารู้รักสามัคคีจำนวน  20 คน
          2. องค์การบริหารส่วนตำบลภูมินำเนื้อหาการอบรมเชิงปฏิบัติการณ์การสานตะกร้า เพื่อจัดอบรมผู้สูงอายุ

    8.4 การประเมินผล

  • บรรลุ ร้อยละ 100
  • ไม่บรรลุ
  • ไม่สามารถประเมินผลได้

9. วิธีที่ใช้ในการประเมิน

    1. เก็บข้อมูลผลการประเมินความสุขมวลรวมของกลุ่มเป้าหมาย (GVH) ตามแนวทางของกรมพัฒนาชุมชน ก่อนและหลังดำเนินโครงการ
    2. การเปรียบเทียบผลการประเมินความสุขมวลรวมของกลุ่มเป้าหมาย (GVH) ก่อนและหลังดำเนินโครงการ

10. ปัญหาและอุปสรรค
      –

11. ข้อเสนอแนะ
      –

Leave a Comment

Your email address will not be published. Required fields are marked *