โครงการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานการเกษตรบ้านวังแดงใต้ ตำบลเขาทราย อำเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร

แหล่งงบประมาณ งบประมาณแผ่นดิน

1. โครงการ โครงการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานการเกษตรบ้านวังแดงใต้ ตำบลเขาทราย อำเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร

    รหัสกิจกรรม ๖๕-๑๐๓-๔๑๑-๐๓-๐๒
    ผู้รับผิดชอบโครงการ นายยศวรรธน์  จันทนา
    หน่วยงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

          ประเภทโครงการ

  • โครงการพัฒนา
  • โครงการวิจัย
  • โครงการอบรม/บริการวิชาการ
  • กิจกรรมสัมพันธ์

เป้าหมายการพัฒนา

  • โครงการพัฒนาท้องถิ่นด้านเศรษฐกิจ
  • โครงการพัฒนาท้องถิ่นด้านสังคม
  • โครงการพัฒนาท้องถิ่นด้านสิ่งแวดล้อม
  • โครงการพัฒนาท้องถิ่นด้านการศึกษา
  • โครงการผลิตและพัฒนาครู
  • โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา

2. พื้นที่ดำเนินโครงการ
    หมู่ 2 บ้านวังแดงใต้ ตำบลเขาทราบ อำเภอทับคล้อ จังหวัดเพชรบูรณ์

3. ปัญหาของพื้นที่
  การแก้ไขปัญหาความยากจนของคนในท้องถิ่นจังหวัดพิจิตร เป็นพันธกิจหลักที่มหาวิทยาลัยต้องดำเนินงานเพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นด้วยการขจัดความยากจนในชนบท  ชี้เป้าชีวิต จัดทำเข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต และดูแลชีวิตให้ดีขึ้น เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ โดยมีเป้าหมายเพื่อเมืองเกษตรดี สิ่งแวดล้อมดี สังคมและคุณภาพชีวิตดี ยกระดับการท่องเที่ยวสู่สากล ซึ่งพื้นที่ในการให้บริการวิชาการ ได้แก่ บ้านวังแดงใต้ หมู่ที่ 2 ตำบลเขาทราย อำเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร ได้ส่งเสริมการเลี้ยงไก่ไข่ และเป็ดไข่ เพื่อสร้างรายได้และทำกินในครัวเรือน แต่ยังไม่ครอบคลุมและยังมีความต้องการในการพัฒนาที่สำคัญๆ อีกหลายประการที่ยังไม่ได้รับการส่งเสริมให้กับคนในพื้นที่เป้าหมาย

   ดังนั้น เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการแก้ไขปัญหาความยากจนของคนในท้องถิ่นจังหวัดพิจิตรอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีประเด็นที่ต้องส่งเสริมเพิ่มเติมและประเด็นใหม่ ดังนี้ การส่งเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในท้องถิ่น การส่งเสริมการเลี้ยงไก่ไข่-เป็ดไข่เพื่อหาสร้างรายได้เสริม การส่งเสริมการเลี้ยงไก่เพื่อการสร้างรายได้ ให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัวให้ดีขึ้นได้ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและรายได้ของครัวเรือนของกลุ่มเป้าหมาย

          ความต้องการของชุมชนตามประเด็นการพัฒนาของแผนพัฒนาจังหวัดเพชรบูรณ์ และพิจิตร
                1) นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็นแนวทางการพัฒนา โดยการนำองค์ความรู้ที่ได้มาพัฒนาเรื่องการเลี้ยงไก่ไข่ และเป็ดไข่
                2) เพื่อสร้างอาชีพเสริมและสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ชุมชน สำหรับกลุ่มชาวบ้านบ้านวังแดงใต้ สามารถแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจขั้นพื้นฐานในครอบครัวได้

4. จำนวนกลุ่มเป้าหมาย
    ชาวบ้านบ้านวังแดงใต้ หมู่ที่ 2 ตำบลเขาทราย อำเภอทับคล้อ จำนวน 20 คน

5. นักศึกษามีส่วนร่วมในการดำเนินงานในโครงการ  
    –

6. วิธีการดำเนินงาน
    6.1 การลงพื้นที่สำรวจบริบทชุมชนและขออนุมัติโครงการ
          กิจกรรมที่ 1 ลงพื้นที่สำรวจบริบทชุมชน
          กิจกรรมที่ 2 ขออนุมัติดำเนินโครงการ และแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน

    6.2 การวางแผนกิจกรรมและประสานความร่วมมือกับผู้นำในพื้นที่เป้าหมาย
          กิจกรรมที่ 1 ประชุมร่วมกันปรึกษาหารือคณะทำงาน
          กิจกรรมที่ 2 ประสานงาน เตรียมการ จัดทำเอกสารหนังสือราชการ

    6.3 ดำเนินกิจกรรม ประเมินผล สรุปผลและติดตาม
         กิจกรรมที่ 1 ดำเนินกิจกรรม
         กิจกรรมที่ 2 ประเมินผล ติดตาม และสรุปผลการดำเนินงาน

7. ผลการดำเนินงาน
   7.1 ตัวชี้วัดความสำเร็จของกิจกรรม

ตัวชี้วัดหน่วยนับปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
  ไตรมาส 1 (ต.ค. – ธ.ค.64)ไตรมาส 2 (ม.ค. – มี.ค.65)ไตรมาส 3 (เม.ย. – มิ.ย. 65)ไตรมาส 4 (ก.ค. – ก.ย. 65)
แผนผลแผนผลแผนผลแผนผล
เชิงปริมาณ 1) กลุ่มเป้าหมาย ได้ไก่ไข่ เป็ดไข่ และอาหาร  จำนวน                          1. สร้างอาชีพเสริมและสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ชุมชน  1) ชุมชนได้ไก่ไข่ เป็ดไข่ และอาหาร                
เชิงคุณภาพ 1) ชุมชนได้องค์ความรู้การเลี้ยงไก่ไข่ เป็ดไข่      จำนวนคน          1) การถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง การเลี้ยงไก่ไข่ เป็ดไข่ เพื่อประกอบเป็นอาชีพ  1) กลุ่มเป้าหมายได้องค์ความรู้การเลี้ยงไก่ไข่ เป็ดไข่เพื่อประกอบเป็นอาชีพ สร้างรายได้เพิ่มให้แก่ชุมชน    

8. ผลการดำเนินงานของโครงการ
    8.1 ผลผลิต (output)
         1. ชุมชนได้ไก่ไข่ เป็ดไข่ และอาหาร  

   8.2 ผลลัพธ์ (Output)
         1. ช่วยลดค่าครองชีพและช่วยเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว
         2. สามารถขยายผลผลิตเพิ่มมากขึ้นให้มีเงินทุนหมุนเวียนจากการจำหน่ายผลผลิต

    8.3 ผลกระทบ (Impact)
         1. ช่วยลดค่าครองชีพและช่วยเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว
         2. สามารถขยายผลผลิตเพิ่มมากขึ้นให้มีเงินทุนหมุนเวียนจากการจำหน่ายผลผลิต

    8.4 การประเมินผล

  • บรรลุ ร้อยละ 100
  • ไม่บรรลุ
  • ไม่สามารถประเมินผลได้

9. วิธีที่ใช้ในการประเมิน
     ประเมินผลกระทบ/ประโยชน์/การสร้างคุณค่าต่อชุมชน โดยการประเมินผลผลิต ตรวจสอบประสิทธิผลของโครงการ ความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์กับผลลัพธ์

10. ปัญหาและอุปสรรค
      –

11. ข้อเสนอแนะ
      –

Leave a Comment

Your email address will not be published. Required fields are marked *